ชื่อหนังสือ (Title) : ลายไม้ฉลุแบบขนมปังขิง : สุนทรียภาพแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เลขเรียกหนังสือ (Call Number) : 736.4 ล273

ชื่อหนังสือ (Title) ลายไม้ฉลุแบบขนมปังขิง : สุนทรียภาพแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ผู้แต่ง (Author)  
พิมพ์ครั้งที่ (Edition)  
พิมพลักษณ์ (Imprint) กรุงเทพฯ : กองโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, 2560
บรรณลักษณ์ Collation) 239 หน้า : ภาพประกอบสี (บางภาพ) ; 21.5 ซม.
เลขเรียกหนังสือ (Call Number) 736.4 ล273
สาระสังเขป (Abstract) ลายขนมปังขิง เป็นชื่อของลายไม้ฉลุชนิดหนึ่งที่เจาะทะลุปรุโปร่ง มีลักษณะโค้งงอ ขดขมวด เกาะเกี่ยวเชื่อมประสานสัมพันธ์ พลิ้วไหวไปตามจินตนาการของนายช่างผู้รังสรรค์ลวดลายด้วยความงดงามวิจิตรบรรจง เป็นลวดลายที่ใช้ประกอบอาคารสถาปัตยกรรมในยุครุ่งเรืองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ และเสื่อมความนิยมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗